วันศุกร์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2558

Work Shop Skill เทอมที่ 1 2558


 Work Shop Skill 





  • งานฝึกทักษะที่สำคัญและจำเป็นสำหรับผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 เพื่อพัฒนาผู้เรียน ในโรงเรียนมาตรฐานสากล Worl Class Stand วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม มุ่งเน้นการฝึกทักษะความพร้อมสำหรับการเข้าร่วมการศึกษาในสังคมอาเชี่ยน โดยใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบ KM การจัดการความรู้
    • 1.ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการ สืบค้น ค้นคว้าศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเอง
    • 2.ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการเก็บรวบรวมข้อมูลความรู้ ที่เป็นภาพ เป็นตัวอักษร เป็นเสียง อย่างเป็นระบบ
    • 3.ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการนำเสนอผลงาน อย่างมีประสิทธิภาพประสิทธิผล
    • 4.ผู้เรียนมีทักษะความสามารถในการสร้างพื้นที่ สำหรับเก็บรวบรวม องค์ความรู้
    • 5.ผู้เรียนมีทักษะความรู้ในการใช้เทคโนโลยี อย่างมีคุณภาพ

ผลงานของผู้เรียน

การจัดการความรู้ 

(Knowledge Management)


เทอมที่ 1 ปี 2558 วิชาประวัติศาสตร์ 
กลุ่มสาระสังคมศึกษาศานาและวัฒนธรรม
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม

---------------------------------------------------------------------------
ผลงานนักเรียน ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 2


ผลงานนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3


-----------------------------------------------------------------------
ชาญวิทย์ ปรีชาพาณิชพัฒนา


การจัดการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21

แนวคิดและหลักการ 
การจัดการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21


  • การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นแนวคิดที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก ในปัจจุบัน ที่เป็นผลกระทบมาจากความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างมหาศาล 
  • ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ต้องกลับมาทบทวนพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษา รวมทั้งการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนในฐานะเป็นพลเมืองของชาติ ให้มีความพร้อมสำหรับการดำรงชีวิต การเรียนรู้ และการทำงาน ในศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นรูปธรรม 
  • สำหรับประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 
  • โดยมีการกำหนดสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน และมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม มีความเป็นไทย ขณะเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานก็มีการกำหนดยุทธศาสตร์ ในการ เตรียมความพร้อมผู้เรียนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก 
  • โดยมุ่งสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ในการสร้างผู้เรียนให้มีศักยภาพ ทักษะ และความรู้พื้นฐานในการดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 นั้น 
  • จะต้องอาศัยการจัดการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิด การเรียนรู้ ผ่านโครงงานหรือโครงการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น การเรียนรู้ในรูปของการค้นคว้าด้วยตนเอง 
  • ซึ่งเป็น พื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) รวมถึงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แสวงหาความรู้ของผู้เรียน
  • ผู้สอน ได้เล็งเห็นความสำคัญของนโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้เรียน รองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียนและยกระดับศักยภาพ ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล จึงได้จัดทำ Blog Sites หรับใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอน 
  • เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพทัดเทียมกับนานาประเทศ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน โดยดำเนินการจัดทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21ตามหลักการสำคัญต่อไปนี้
    •  1. มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
    • 2. มุ่งเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ทักษะชีวิต และทักษะด้านการจัดการข้อมูล สารสนเทศ อย่างมี ประสิทธิภาพ (Information Technology) 
    • 3. มุ่งฝึกฝนให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูล (Data) จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สามารถวิเคราะห์ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ และสามารถแปลงข้อมูลเป็นความรู้ (Knowledge) เพื่อนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 4. มุ่งสร้างเสริมนิสัยใฝ่เรียนรู้ และฝึกฝนทักษะวิธีการเรียนรู้แก่ผู้เรียน (Learning skill) ให้สามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลความรู้ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล สามารถนำมาใช้ในการเรียน การทำงาน และการ ดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 10

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 11

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 15

วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2558

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 14

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 13

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 12

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 9



ตรวจสอบผลคะแนนการสอบ ชุดที่ 9





ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 8




ตรวจสอบผลคะแนนการสอบ ชุดที่ 8

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 7


คะแนน การทดสอบ

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 6



คะแนนการทดสอบ ชุดที่ 6

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 5

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 4

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 3

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 2




ตรวจสอบผลการทดสอบ ชุดที่ 2

ทดสอบประวัติศาสตร์ ชุดที่ 1




ตรวจสอบผลการทดสอบ ชุดที่ 1

วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2558

ทดสอบหลังกลางภาค

หน่วยที่ 5 กิจกรรมที่ 5.6

หน่วยที่ 5 กิจกรรมที่ 5.5

หน่วยที่ 5 กิจกรรมที่ 5.3

หน่วยที่ 5 กิจกรรมที่ 5.2

หน่วยที่ 5 กิจกรรมที่ 5.1

สอบก่อนกลางภาคเรียนที่ 2

หน่วยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.9

หน่อยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.8

หน่อยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.7

หน่วยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.6

หน่วยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.5

หน่วยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.4

หนวยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.3

หน่วยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.2

หน่วยที่ 4 กิจกรรมที่ 4.1

ทดสอบประจำหน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1 กิจกรรมที่ 6

หน่วยที่ 1 กิจกรรมที่ 5

หน่วยที่ 1 กิจกรรมที่ 4

หน่วยที่ 1 กิจกรรมที่ 3

หน่วยที่ 1 กิจกรรมที่ 2

หน่วยที่ 1 กิจกรรมที่ 1

แนวคิดการจัดการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21

แนวคิดและหลักการ
การจัดการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21


  • การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นแนวคิดที่เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของโลก ในปัจจุบัน ที่เป็นผลกระทบมาจากความเจริญก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นอย่างมหาศาล
  • ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ทั่วโลก ต้องกลับมาทบทวนพัฒนาหลักสูตรและการจัดการศึกษา รวมทั้งการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ให้ผู้เรียนในฐานะเป็นพลเมืองของชาติ ให้มีความพร้อมสำหรับการดำรงชีวิต การเรียนรู้ และการทำงาน ในศตวรรษที่ 21 อย่างเป็นรูปธรรม
  • สำหรับประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ศตวรรษที่ 21
  • โดยมีการกำหนดสมรรถนะสำคัญของ ผู้เรียน และมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม มีความเป็นไทย ขณะเดียวกัน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐานก็มีการกำหนดยุทธศาสตร์ ในการ เตรียมความพร้อมผู้เรียนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก
  • โดยมุ่งสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานสากล ทั้งนี้ ในการสร้างผู้เรียนให้มีศักยภาพ ทักษะ และความรู้พื้นฐานในการดำรงชีวิตในโลกศตวรรษที่ 21 นั้น
  • จะต้องอาศัยการจัดการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องและเหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาทักษะการคิด การเรียนรู้ ผ่านโครงงานหรือโครงการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้น การเรียนรู้ในรูปของการค้นคว้าด้วยตนเอง
  • ซึ่งเป็น พื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) รวมถึงการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการ แสวงหาความรู้ของผู้เรียน
  • ผู้สอน ได้เล็งเห็นความสำคัญของนโยบายปฏิรูปการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของผู้เรียน รองรับการเปิดเสรีประชาคมอาเซียนและยกระดับศักยภาพ ให้สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล จึงได้จัดทำ Blog Sites หรับใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนการสอน
  • เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีศักยภาพทัดเทียมกับนานาประเทศ อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน โดยดำเนินการจัดทำแนวทางการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21ตามหลักการสำคัญต่อไปนี้
    • 1. มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนรักที่จะเรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้พัฒนาตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 2. มุ่งเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด ทักษะชีวิต และทักษะด้านการจัดการข้อมูล สารสนเทศ อย่างมี ประสิทธิภาพ (Information Technology)
    • 3. มุ่งฝึกฝนให้ผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูล (Data) จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ สามารถวิเคราะห์ความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ และสามารถแปลงข้อมูลเป็นความรู้ (Knowledge) เพื่อนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    • 4. มุ่งสร้างเสริมนิสัยใฝ่เรียนรู้ และฝึกฝนทักษะวิธีการเรียนรู้แก่ผู้เรียน (Learning skill) ให้สามารถเข้าถึง แหล่งข้อมูลความรู้ที่มีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล สามารถนำมาใช้ในการเรียน การทำงาน และการ ดำเนินชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ
  • ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills




    เว็บบล๊อคประกอบการเรียนวิชาประวัติศาสตร์ ส 22102 ,22104 ระบบการเรียน การจัดการความรู้ KM (Knowlead Maneagement) เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ ศตวรรษที่ 21 ในโรงเรียน Worl Class Standrad ประกอบด้วย 4 ทักษะพื้นฐาน คือ

    • (1) ทักษะภาษาดิจิทัล
    • (2) ทักษะคิดประดิษฐ์สร้าง
    • (3) ทักษะสื่อสารมีประสิทธิภาพ
    • (4) ทักษะสื่อสารมีประสิทธิผล

    พัฒนาสู่ทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้ศตวรรษที่ 21 ขั้นต้น 6 ประการ

    • (1) ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills
    • (2) ทักษะการคิด Thinking Skills
    • (3) ทักษะการแก้ปัญหา Problerm Skills
    • (4) ทักษะชีวิต Life Skills
    • (5) ทักษะการใช้เทคโนโลยี Technology Skills
    • (6) ทักษะการสื่อสาร Communication Skill


    ........การจัดการเรียนการสอนจึงต้องเปลี่ยนไปจากเดิม ครูใช้วิธีการสอนแบบเดิม แบบเล็กเชอร์ไม่ได้ผล กระบวนการต้องจัดให้ลงมือทำ และเรียนรู้แบบย้อนทาง ต้องให้แอกตีฟ และเรียนตามความสนใจให้มากขึ้น

    ........เป้าหมายของการเรียนรู้มิใช่ ”ตัวความรู้” อีกต่อไป เพราะตัวความรู้นั้นมีมายมายมหาศาล เกินกว่าที่จะสอนให้นักเรียนแต่ละชั้นปีได้ .

    ........นักเรียนในยุคใหม่มีหนทางค้นหาความรู้ด้วยตนเอง (จากก้อนเมฆ) เป้าหมายของการเรียนรู้อยู่ที่“ทักษะการเรียนรู้” และ "วิธีการจัดการกับความรู้ "

    .......หากผู้เรียนมีทักษะพื้นฐาน และทักษะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้ ตามที่กำหนด ก็จะทำให้เกิดระบบและกระบวนการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาต่างๆ เป็นไปด้วยประสิทธิภาพประสิทธิผล ตรงเจตนารมณ์ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาชาติ "ผู้เรียนเป็นคนดี ผู้เรียนเป็นคนเก่ง ผู้เรียนมีความสุข"


    "ยิ่งคิดยิ่งไม่รู้ แต่พอหยุดคิดกลับรู้ แต่ก็ต้องอาศัยความคิดนั่นละจึงรู้"


    ถ้าหากเธอใช้จิตของเธอศึกษาสัจจะความจริง

    เธอจะไม่สามารถเข้าใจทั้งจิตของเธอและสัจจะความจริง

    หากเธอศึกษาสัจจะความจริงโดยไม่ใช้จิต เธอจะเข้าใจทั้งสอง

    บุคคลผู้ไม่เข้าใจ ย่อมไม่เข้าใจความเข้าใจ

    ส่วนบุคคลผู้เข้าใจ ย่อมเข้าใจความไม่เข้าใจ

    บุคคลผู้มีสัมมาทิฏฐิ ย่อมรู้ว่าจิตนั้นว่างเปล่า
    เขาอยู่นอกเหนือทั้งความเข้าใจและความไม่เข้าใจ

    และการนอกเหนือ ทั้งความเข้าใจ
    และความไม่เข้าใจ คือความเข้าใจที่แท้จริง

    การเข้าใจในสมมุติและวิมุติอย่างแท้จริงแล้วนั้น

    คือผู้ที่ดำรงค์อยู่ท่ามกลางวิหารธรรมตลอดเวลา